เมื่อเริ่มเรียนภาษาอังกฤษ ใครๆ ก็ต้องเรียน ตัวอักษรภาษาอังกฤษ ก่อน ด้วย 26 ตัวตั้งแต่ตัว A ถึง ตัว Z อย่างไรก็ตาม มีคนไม่ค่อยรู้ว่า หากอยากสะกดและออกเสียงให้ถูกต้อง จึงขึ้นอยู่กับสัทอักษรภาษาอังกฤษแบบสากร (IPA) ไม่ใช่ตัว a, b, c, d,….
ดังนั้น ผ่านบทความนี้ ELSA จะช่วยให้คุณแยกความแตกต่างงระหว่าง ตัวอักษรภาษาอังกฤษ กับสัทอักษรภาษาอังกฤษแบบสากล จากนั้น คุณจะมีมุมมองที่สมบูรณ์ยิ่งขึ้นและได้รับประโยชน์มากายต่อการเรียนภาษาอังกฤษของตัวเอง
ตัวออักษรภาษาอังกฤษ รวม 26 ตัวออักษร
ตัวอักษรภาษาอังกฤษที่เต็ม
อักษรภาษาอังกฤษมีทั้งหมด 26 ตัว ซึ่งได้แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือตัวพยัญชนะและตัวสระ พยัญชนะภาษาอังกฤษมี 21 ตัว ส่วนสระภาษาอังกฤษกลับมี 5 ตัวได้แก่ A E I O และ U แล้วในทุกคำศัพท์ก็ต้องมีสระ 1 ตัวเป็นน้อยสุด
มี 2 วิธีการเขียนตัวอักษรคือตัวพิมพ์ใหญ่และตัวพิมพ์เล็ก อักษรตัวพิมพ์ใหญ่ใช้สำหรับอักษรตัวแรกของประโยคและอักษรตัวแรกของชื่อหรือสถานที่
สะกด ตัวอักษรภาษาอังกฤษ
ก่อนที่เราเริ่มเรียนวิธีอ่านสัทอักษร คุณควรเรียนวิธีการสะกดตัวอักษรแต่ละตัวในรูปภาพข้างล่าง การรู้วิธีการสะกดอย่างชัดเจนที่จะช่วยให้คุณปรับปรุงทักษะการฟังและการพูดอย่างรวดเร็ว ปกติหลายคนเรียนภาษาอังกฤษอ่านคำศัพท์ตามความจำ แต่สิ่งนี้จะเกิดความผิดสำหรับคำศัพท์ที่เจอไม่บ่อยหรือไม่เคยใช้ เพราะคุณไม่เข้าใจหลักการสัทอักษรภาษาอังกฤษ
นี่คือ ตัวอักษรภาษาอังกฤษ รวมถึงการสะกดของแต่ละคำ
สัทอักษรภาษาอังกฤษแบบสากร (IPA)
อย่างแรก เราจะมาดูกันและวิเคราะห์ตาราง IPA ซึ่งมี่เต็มชื่อว่า International Phonetic Alphabet ต่อไปนี้นะ
หมายเหตุ เมื่อคุณดูคร่าวๆ จะเห็นว่าระหว่างอักษรอังกฤษและตาราง IPA มีข้อคล้ายๆ กันในบางแห่ง แต่เมื่อดูอย่างชัดเจน คุณกลับเห็นว่า 2 สิ่งนี้แยกแยะกันมาก
สัทอักษรภาษาอังกฤษแบบสากรมีทั้งหมด 44 ตัว ได้แก่
- 20 ตัวสระ
- 24 ตัวพยัญชนะ
ใน 20 สระภาษาอังกฤษกลับมี
- 12 ตัวสระเดี่ยว
- 8 ตัวสระควบคล้ำ
(*) 1 ตัวสระควบคล้ำเป็นสระเดี่ยว 2 ตัวมารวมเป็นพยางค์เดียวกัน
ดูเพิ่มเติม – วิธีเรียนสนทนาภาษาอังกฤษพื้นฐานสำหรับผู้เริ่มต้น
จำแนกประเภทสัทอักษรตามลักษณะ เปล่งเสียง-ไร้เสียง
อย่างแรก เราจะไปทำความคุ้นกับ 2 นิยามที่สำคัญที่สุด ซึ่งเกี่ยวข้องกับการออกเสียงภาษาอังกฤษ ได้แก่ ตัวเปล่งเสียงและตัวไร้เสียง เมื่อเราพูด ลักษณะนี้เป็นพื้นฐานต่อการสั่นเส้นเสียงของเราหรือไม่ และลมหายใจที่ขับออกหรือไม่
- ตัวเปล่งเสียง – เราไม่ต้องขับลมหายใจออกจากปากแต่กลับต้องสั่นเส้นเสียง (หารเราวางมือบนคอ จะรู้สักความสั่นเส้นเสียง)
- ตัวไร้เสียง – เราจะต้องขับลมหายใจออกจากปากแต่กลับและไม่สั่นเส้นเสียง (หารเราวางมือบนคอ จะไม่เห็นการสั่นเส้นเสียง)
จำแนกสัทอักษร 44 ตัวตามลักษณะ เปล่งเสียง – ไร้เสียง
- ตัวสระ: ทั้งสระ 20 ตัวก็เป็นตัวเปล่งเสียง
- ตัวพยัณชนะ:
ตัวเปล่งเสียง: /b/, /d/, /ɡ/, /v/, /z/, /ʒ/, /dʒ/, /m/, /n/, /ŋ/, /l/, /r/, /w/, /j/, /ð/ (15 ตัว)
ตัวไร้เสียง: /p/, /t/, /k/, /f/, /s/, /ʃ/, /tʃ/, /h/, /θ/ (9 ตัว)
วิธีออกเสียงอย่างถูกต้องตามตัวสะกดภาษาอังกฤษแบบสากร (IPA)
สระ
- ตัวสระทั้งหมดเป็นตัวเปล่งเสียง ดังนั้น เมื่อเราออกเสียงตัวสระ ก็ต้องสั่นเส้นเสียงและไม่ขับลมหายใจออกจากปาก
- เมื่อเราออกเสียงตัวสระทั้งหมด ต้องออกเสียงในปาก อย่าดันลมขึ้นจะมูกเพื่อออกเสียง
- วิธีการออกเสียงทั้งหมดที่ได้กล่าวข้างล่างจะเน้น 3 ข้อได้แก่ เสียง รูปร่างปากและตำแห่นง-รูปร่างของลิ้น
สระเดี่ยว
ก. /ɪ/
- เสียง ปกติจะเรียกว่า “ตังไอสั้น” เสียงจะจบเร็ว สั้น และทื่อ
- รูปร่างปาก ริมฝีปากไม่แบน แต่เม้มเข้าหากันเล็กน้อย ฟันสองซี่ห่างกันเพียงเล็กน้อยเท่านั้น
- ตำแห่นง-รูปร่างของลิ้น วางลิ้นต่ำ ผ่อนคลาย และยังคงเหมือนปกติ
ข. / iː/
- เสียง ปกติจะเรียกว่า “ตังไอยาว” เสียงจะจบนานกว่า
- รูปร่างปาก ปากแบนไปด้าน 2 ข้างและแยกฟันเหมือนกำลังยิ้ม ฟันทั้งสองซี่ห่างกันเพียงช่องว่างเล็กๆ
- ตำแห่นง-รูปร่างของลิ้น ยกปลายลิ้นสูงกว่าตัว /ɪ/
ค. /ʊ/
- เสียง ปกติจะเรียกว่า “ตังอูสั้น” ออกเสียงสั้นและจบเร็ว ชาวอังกฤษมักจะออกเสียงตัวนี้เมือนกับตัว อุ ในภาษาไทย ส่วนชาวอเมริกันกลับออกเสียงเมือนตัว อึ อย่างไรก็ตาม ตัวไหนก็แล้วแต่ เราแค่เน้นการออกเสียงสั้นและจบเร็วก็พอแล้ว
- รูปร่างปาก ริมฝีปากค่อยๆ เชิดหน้าและม้วนให้เป็นวงกลมเล็ก ๆ
- ตำแห่นง-รูปร่างของลิ้น วางลิ้นต่ำ ผ่อนคลาย และยังคงเหมือนปกติ
ม. /uː/
- เสียง ปกติจะเรียกว่า “ตังอูยาว” ออกเสียงตัวนี้เหมือนกับการออกเสียงตัว อู ในภาษาไทย
- รูปร่างปาก ริมฝีปากค่อยๆ เชิดหน้าและม้วนให้เป็นวงกลมเล็ก ๆ
- ตำแห่นง-รูปร่างของลิ้น วางลิ้นต่ำ ผ่อนคลาย และยังคงเหมือนปกติ
ง. /e/
- เสียง ออกเสียงเหมือนกับการออกเสียงตัว “แอะ” ในภาษาไทย
- รูปร่างปาก ไม่แบนหรือกลมเกินไป ปากยื่นออกไปในแนวตั้งมากกว่าเสียง /ɪ/ และ /iː/
- ตำแห่นง-รูปร่างของลิ้น วางลิ้นต่ำ ผ่อนคลาย และยังคงเหมือนปกติ
ฉ. /ə/
- เสียง ออกเสียงเหมือนกับการออกเสียงตัว “เอะ” ในภาษาไทย
- รูปร่างปาก รูปปากเหมือนเราอ่านตัว “เอะ”
- ตำแห่นง-รูปร่างของลิ้น วางลิ้นต่ำ ผ่อนคลาย และยังคงเหมือนปกติ
ช. /ɜː/
- เสียง ออกเสียงเหมือนกับการออกเสียงตัว “เอ” ในภาษาไทย
- รูปร่างปาก รูปปากเหมือนเราอ่านตัว “เอ”
- ตำแห่นง-รูปร่างของลิ้น ปลายลิ้นโค้งขึ้นใกล้เพดานคอ
ฌ. /ʌ/
- เสียง ออกเสียงเหมือนกับการออกเสียงตัว “อะ” ในภาษาไทย
- รูปร่างปาก รูปปากจะแบนกว่ารูปปากของตัว /ə/ และ /ɜː/
- ตำแห่นง-รูปร่างของลิ้น ลิ้นค่อยๆ ยกขึ้น
ญ. /ɔː/
- เสียง ออกเสียงเหมือนกับการออกเสียงตัว “ออ” ในภาษาไทย
- รูปร่างปาก ริมฝีปากมุ่ยและกลม
- ตำแห่นง-รูปร่างของลิ้น ปลายลิ้นโค้งขึ้นใกล้กับเพดานปาก
ฎ. /ɒ/
- เสียง ออกเสียงเหมือนกับการออกเสียงตัว “เอาะ” ในภาษาไทย
- รูปร่างปาก รูปปากเหมือนเราอ่านตัว “เอาะ”
- ตำแห่นง-รูปร่างของลิ้น วางลิ้นต่ำ ผ่อนคลาย และยังคงเหมือนปกติ
ฐ. /ɑː/
- เสียง ออกเสียงเหมือนกับการออกเสียงตัว “อา” ในภาษาไทย
- รูปร่างปาก รูปปากเหมือนเราอ่านตัว “อา”
- ตำแห่นง-รูปร่างของลิ้น วางลิ้นต่ำ ผ่อนคลาย และยังคงเหมือนปกติ
ฑ. /æ/
- เสียง ออกเสียงเหมือนกับการออกเสียงตัว “แอะ” ในภาษาไทย
- รูปร่างปาก ปากเปิดกว้าง แต่เอียงในแนวนอน และวางริมฝีปากล่างต่ำลง
- ตำแห่นง-รูปร่างของลิ้น วางลิ้นต่ำ ผ่อนคลาย และยังคงเหมือนปกติ
สระคู่
- /ɪə/ ออกเสียง /ɪ/ แล้วค่อยๆ เปลี่ยนเป็น /ə/ ออกเสียงเหมือนตัว “เอีย” ในภาษาไทย ปากแบนก่อนแล้วกลายเป็นวงกลมทีหลัง
- /ʊə/ ออกเสียง /ʊ/ แล้วค่อยๆ เปลี่ยนเป็น /ə/ ออกเสียงเหมือนตัว “อัว” ในภาษาไทย ปากเปลี่ยนจากแคบเป็นกว้างขึ้น
- /eə/ ออกเสียง /e/ แล้วค่อยๆ เปลี่ยนเป็น /ə/ ออกเสียงเหมือนตัว “แอ” ในภาษาไทย ปากแบนก่อนแล้วกลายเป็นวงกลมทีหลัง
- /eɪ/ ออกเสียง /e/ แล้วค่อยๆ เปลี่ยนเป็น /ɪ/ ออกเสียงเหมือนตัว “ไอย” ในภาษาไทย ปากแคบลงในแนวตั้ง
- /ɔɪ / ออกเสียง /ɔː/ แล้วค่อยๆ เปลี่ยนเป็น /ɪ/ ออกเสียงเหมือนตัว “ออย” ในภาษาไทย ปากเปิดเป็นกลมแล้วแบนทีหลัง
- /aɪ/ ออกเสียง /ɑː/ แล้วค่อยๆ เปลี่ยนเป็น /ɪ/ ออกเสียงเหมือนตัว “เอย์” ในภาษาไทย ปากเปิดเป็นกลมแล้วแบนทีหลัง
- /əʊ/ ออกเสียง /ə/ แล้วค่อยๆ เปลี่ยนเป็น /ʊ/ ออกเสียงเหมือนตัว “โอว” ในภาษาไทย ริมฝีปากค่อยๆถูกบีบและดึงไปข้างหน้า
- /aʊ/ ออกเสียง /ɑː/ แล้วค่อยๆ เปลี่ยนเป็น /ʊ/ ออกเสียงเหมือนตัว “อาว” ในภาษาไทย ริมฝีปากค่อยๆถูกบีบและดึงไปข้างหน้า
พยัญชนะ
คู่พยัญชนะที่ได้ออกเสียงที่ถูกต้อง
หมายเหตุ เสียงของทั้ง 8 คู่คำต่อไปมีรูปร่างปากและการควบคุมลิ้นที่เหมือนกัน แต่มีลักษณะการเปล่งเสียง-ไร้เปล่งกลับต่างกัน
1. คู่คำที่ 1 /b/ – /p/
- รูปร่างปากและการควบคุมลิ้น เริ่มต้นด้วยการเม้มปาก จากนั้นเปิดปากและออกเสียง วางลิ้นอยู่ต่ำ ผ่อนคลาย และนอนตามปกติ
- /b/ เป็นตัวเปล่งเสียง จึงเปิดริมฝีปากเบาๆ ไม่ขับลมออก และสั่นเส้นเสียง
- /p/ เป็นตัวไร้เสียง จึงริมฝีปากเม้มแน่น ขับลมออกมาอย่างแรง แลสร้างเสียงระเบิด
2.คู่ที่ 2 /d/ – /t/
- รูปร่างปากและการควบคุมลิ้น ปากแบนและฟันไม่แยก ในตอนเริ่มต้นของการออกเสียง ปลายลิ้นแตะด้านหลังรากของฟันบนแล้วเคลื่อนออกไป
- /d/ เป็นตัวเปล่งเสียง เมื่อปลายลิ้นออกจากรากของฟันบน เราจึงสั่นเส้นเสียง
- /t/ เป็นตัวไร้เสียง เมื่อปลายลิ้นออกจากรากของฟันบน เราจึงไม่สั่นเส้นเสียง แต่กลับลมหายใจจากปากเพื่อสร้างเสียง
3.คู่ที่ 3 /ɡ/ – /k/
- รูปร่างปากและการควบคุมลิ้น ปากค่อยๆ เปิด ปลายลิ้นยกขึ้นแตะส่วนที่อ่อนนุ่มด้านบนและไม่ให้ขับลมออก จากนั้นวางลิ้นลดลงอย่างรวดเร็วและขับลมออก
- /ɡ/ เป็นตัวเปล่งเสียง เราจึงสั่นเส้นเสียง
- /k/ เป็นตัวไร้เสียง เราจึงไม่สั่นเส้นเสียงและสร้างเสียงระเบิด
4.คู่ที่ 4 /v/ – /f/
- รูปร่างปากและการควบคุมลิ้น ใช้ฟันบนกัดริมฝีปากล่างเบาๆ
- /v/ เป็นตัวเปล่งเสียง เราจึงสั่นเส้นเสียง แต่กลับม่ให้ขับลมออก และจะรู้สึกถึงการสั่นของริมฝีปากล่าง ซึ่งเกิดจากลมที่อุดกั้น
- /f/ เป็นตัวไร้เสียง เราจึงไม่สั่นเส้นเสียง แต่กลับขับลมออกผ่านช่องว่างเล็กๆ ระหว่างฟันบนกับริมฝีปากล่าง
5.คู่ที่ 5 /z/ – /s/
- รูปร่างปากและการควบคุมลิ้น ริมฝีปากหลวม ฟันปิดครึ่งซี่สองซี่ ให้ปลายลิ้นสัมผัสกับรากฟันบน
- /z/ เป็นตัวเปล่งเสียง เราจึงสั่นเส้นเสียง แต่กลับไม่ให้ขับลมออก ซึ่งจะดักจับลมที่จุดสัมผัสระหว่างปลายลิ้นกับโคนฟันบน สิ่งนี้จะสร้างเสียง “ซี ซี” เหมือนเสียงผึ้ง
- /s/ เป็นตัวไร้เสียง เราจึงไม่สั่นเส้นเสียง เราจะดันลมออกผ่านจุดสัมผัสระหว่างปลายลิ้นกับโคนฟันบน ซึ่งจะมีเสียงเหมือนเสียงงู
6.คู่ที่ 6 /ʒ/ – /ʃ/
- รูปร่างปากและการควบคุมลิ้น ริมฝีปากหลวม ฟันสองซี่ปิดไม่มด ม้วนปลายลิ้นขึ้นไปถึงเพดานคอ
- /ʒ/ เป็นตัวเปล่งเสียง เราจึงสั่นเส้นเสียง แต่กลับไม่ให้ขับลมออก
- /ʃ/ เป็นตัวไร้เสียง เราจึงไม่สั่นเส้นเสียง แต่กลับให้ขับลมออก
7.คู่ที่ 7 /dʒ/ – /tʃ/
- รูปร่างปากและการควบคุมลิ้น ริมฝีปากหลวม ฟันสองซี่ปิดไม่มด ส่วนกลางลิ้นยกขึ้นและแตะเพดานปาก
- /dʒ/ เป็นตัวเปล่งเสียง ดังนั้น เมื่อดึงลิ้นออกจากเพดานปาก เราจึงสั่นเส้นเสียงเพื่อสร้างสะเทียน
- /tʃ/ เป็นตัวไร้เสียง ดังนั้น เมื่อดึงลิ้นออกจากเพดานปาก เราจึงไม่สั่นเส้นเสียง แต่กลับให้ขับลมออก
8.คู่ที่ 8 /ð/ – /θ/
- ปร่างปากและการควบคุมลิ้น ปากเปิดเล็กน้อยและแบน ปลายลิ้นแตะฟันบนและยื่นออกมาเล็กน้อย
- /ð/ เป็นตัวเปล่งเสียง เราจึงสั่นเส้นเสียง แต่กลับไม่ให้ขับลมออก ลมจะติดอยู่ที่บริเวณสัมผัสระหว่างลิ้นกับฟันบน ซึ่งสร้างการสั่นเส้นเสียงตรงกลางลิ้นและฝันบน
- /θ/ เป็นตัวไร้เสียง เราจึงไม่สั่นเส้นเสียงและขับลมออกผ่านจุดที่สัมผัสระหว่างลิ้นกับฟันบน
เสียงจมูกและเปล่งเสียง
- /m/ บีบริมฝีปากเข้าด้วยกันและสร้างเสียงโดยดันลมขึ้นจมูกแล้วขับลมออกจากจมูก
- /n/ ใช้ปลายลิ้นแตะเพดานปากและสร้างเสียงโดยดันลมขึ้นจมูกแล้วขับลมออกจากจมูก
- /ŋ/ โคนลิ้นยกขึ้นแตะเพดานอ่อนด้านบนและสร้างเสียงโดยดันลมขึ้นจมูกแล้วขับลมออกจากจมูก
พยัญชนะที่เหลือ
- /l/ (ตัวเปล่งเสียง) ยกปลายลิ้นและแตะโดนฟันบน ม้วนลิ้นขึ้นเพื่อแตะเพดานปากและสั่นเส้นเสียงเพื่อสร้างเสียง
- /r/ (ตัวเปล่งเสียง) ด้านหลังของลิ้นยกขึ้นแตะส่วนบนของเพดานปาก ส่วนกลางของลิ้นถูกวางลงทำให้เกิดที่ราบ ปลายลิ้นชี้ขึ้น อย่าลืมรักษาความโค้งสำหรับพื้นที่ราบ สั่นเส้นเสียงเพื่อให้เกิดเสียง
- /w/ (ตัวเปล่งเสียง) เหน็บแก้มและทำให้ริมฝีปากอวบอิ่มและกลม ออกแรงที่ปลายริมฝีปาก ค่อยๆ เปิดริมฝีปากให้กว้างเหมือนออกเสียนงตัว “ว” ในภาษาไทย
- /j/ (ตัวเปล่งเสียง) นี่คือเสียงเพดานปากที่ไม่สมบูรณ์ ซึ่งมีรูปกึ่งสระนำหน้าด้วยสระ
- /h/ (ตัวไร้เสียง) เปิดปาก หายใจเข้า แล้วเหน็บท้องและขับลมออก
ข้อมูลที่กล่างข้างต้นจะช่วยให้คุณแยกความแตกต่างระหว่างตังอักษรภาษาอังกฤษและสัทอักษรภาษาอังกฤษแบบสากรได้ง่าย ซึ่งคุณจะรู้วิธีการสะกดอักษรอังกฤษ 26 ตัว และสามารถจดจำสัญลักษณ์และออกเสียงทั้ง 44 เสียงได้อย่างถูกต้องในตาราง IPA ELSA หวังว่าบทความนี้จะมีประโยชน์ต่อการเรียยนภาษาอังกฤษของคุณ
แล้วพบกันในบทเรียนต่อไป